ผ่าคลอดและผลต่อภูมิต้านทาน
เพราะรากฐานสุขภาพที่ดีของลูกในระยะยาว คุณแม่สามารถกำหนดและสร้างให้ลูกได้ตั้งแต่ช่วงแรกของชีวิต จากข้อมูลพบว่า ปัจจัยด้านพันธุกรรมหรือการได้รับยีนจากพ่อแม่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของลูกได้ เช่น พ่อหรือแม่ที่เป็นภูมิแพ้ก็อาจส่งต่อโรคภูมิแพ้มายังลูกได้ 20-40% ในขณะที่ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เช่น การผ่าคลอดอาจส่งผลต่อภูมิต้านทานได้ถึง 30% หรือการได้รับยาปฏิชีวนะก็ล้วนมีผลต่อภูมิต้านทาน
รากฐานของสุขภาพในระยะยาว กำหนดได้ตั้งแต่ช่วงแรกของชีวิต
การผ่าคลอดส่งผลต่อภูมิต้านทานตั้งต้นของลูกน้อยแรกเกิด และพื้นฐานของสุขภาพที่ดีของลูกในอนาคต เนื่องจาก เด็กที่คลอดธรรมชาติ จะได้รับจุลินทรีย์โพรไบโอติกผ่านทางช่องคลอดของคุณแม่ ต่างจากลูกน้อยที่ผ่าคลอดที่ไม่ได้รับ จุลินทรีย์โพรไบโอติก ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่สำคัญต่อภูมิตั้งต้นหรือรากฐานของการพัฒนาระบบภูมิต้านทานที่ดีไปตลอดชีวิต จึงอาจทำให้ลูกที่ผ่าคลอดมีระบบภูมิต้านทานที่พัฒนาช้ากว่าเด็กคลอดธรรมชาติ และทำให้เด็กผ่าคลอดมีโอกาสเจ็บป่วย มากกว่าเด็กที่คลอดธรรมชาติ โดยจากงานวิจัยเด็ก 1.9 ล้านคน พบว่าเด็กผ่าคลอดมีความเสี่ยงต่างๆ เมื่อเทียบกับเด็ก ที่คลอดธรรมชาติ นั่นคือ
การผ่าคลอดส่งผลต่อภูมิต้านทานตั้งต้นของลูกน้อยแรกเกิด และพื้นฐานของสุขภาพที่ดีของลูกในอนาคต เนื่องจาก เด็กที่คลอดธรรมชาติ จะได้รับจุลินทรีย์โพรไบโอติกผ่านทางช่องคลอดของคุณแม่ ต่างจากลูกน้อยที่ผ่าคลอดที่ไม่ได้รับ จุลินทรีย์โพรไบโอติก ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่สำคัญต่อภูมิตั้งต้นหรือรากฐานของการพัฒนาระบบภูมิต้านทานที่ดีไปตลอดชีวิต จึงอาจทำให้ลูกที่ผ่าคลอดมีระบบภูมิต้านทานที่พัฒนาช้ากว่าเด็กคลอดธรรมชาติ และทำให้เด็กผ่าคลอดมีโอกาสเจ็บป่วย มากกว่าเด็กที่คลอดธรรมชาติ โดยจากงานวิจัยเด็ก 1.9 ล้านคน พบว่าเด็กผ่าคลอดมีความเสี่ยงต่างๆ เมื่อเทียบกับเด็ก ที่คลอดธรรมชาติ นั่นคือ
ซินไบโอติก พบได้ในนมแม่ เพราะนมแม่มีทั้ง จุลินทรีย์สุขภาพโพรไบโอติก (Probiotic) และ ใยอาหารพรีไบโอติก (Prebiotic) ที่มีปริมาณมากในนมแม่ ซึ่งพรีไบโอติกจะช่วยให้จุลินทรีย์โพรไบโอติกเติบโตได้ดี เมื่อพรีไบโอติกและ โพรไบโอติกทำงานร่วมกันแบบซินไบโอติก จะทำให้จุลินทรีย์โพรไบโอติกเจริญเติบโตดี เอื้อต่อพัฒนาการของระบบ ภูมิต้านทานในลำไส้ ลดปริมาณจุลินทรีย์ก่อโรค ป้องกันการติดเชื้อ พัฒนาระบบภูมิต้านทานในร่างกายลูกน้อยผ่าคลอด ให้แข็งแรงเทียบเท่ากับเด็กที่คลอดธรรมชาติได้
การผ่าคลอดส่งผลต่อภูมิต้านทานตั้งต้นของลูกน้อยแรกเกิด และพื้นฐานของสุขภาพที่ดีของลูกในอนาคต เนื่องจาก เด็กที่คลอดธรรมชาติ จะได้รับจุลินทรีย์โพรไบโอติกผ่านทางช่องคลอดของคุณแม่ ต่างจากลูกน้อยที่ผ่าคลอดที่ไม่ได้รับ จุลินทรีย์โพรไบโอติก ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่สำคัญต่อภูมิตั้งต้นหรือรากฐานของการพัฒนาระบบภูมิต้านทานที่ดีไปตลอดชีวิต จึงอาจทำให้ลูกที่ผ่าคลอดมีระบบภูมิต้านทานที่พัฒนาช้ากว่าเด็กคลอดธรรมชาติ และทำให้เด็กผ่าคลอดมีโอกาสเจ็บป่วย มากกว่าเด็กที่คลอดธรรมชาติ โดยจากงานวิจัยเด็ก 1.9 ล้านคน พบว่าเด็กผ่าคลอดมีความเสี่ยงต่างๆ เมื่อเทียบกับเด็ก ที่คลอดธรรมชาติ นั่นคือ
นมแม่จึงเป็นเสมือนวัคซีนที่สำคัญมากต่อการสร้างภูมิต้านทานให้ลูกน้อยที่ผ่าตัดคลอดได้มีพัฒนาการภูมิต้านทานเทียบเท่าเด็กคลอดธรรมชาติ คุณแม่จึงควรให้ลูกน้อยแรกเกิดกินนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน หรือกินนมแม่ให้นานที่สุด
แต่หากคุณแม่มีความจำเป็นไม่สามารถให้นมลูกได้ ควรปรึกษาบุคลากรทางการแพทย์ เพื่อรับคำแนะนำด้านโภชนาการอย่างเหมาะสม
บทความที่เกี่ยวข้อง
ไฮ-แฟมิลี่ แคร์ไลน์
บริการให้คำปรึกษาในทุกๆเรื่องที่คุณแม่กังวลใจ โดยทีมผู้เชี่ยวชาญ พยาบาล นักโภชนาการและคุณแม่ ที่พร้อมอยู่เคียงข้าง ตลอด 24 ชั่วโมง