นมแม่ดีที่สุด

เรามุ่งมั่นที่จะช่วยให้คุณเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพราะเราเชื่อว่าการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่คือสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับทารก ทั้งยังให้ประโยชน์กับทารกในหลายด้าน การเตรียมตัวช่วงก่อนและระหว่างการให้นมทารกนั้นเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่ง คุณควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในสัดส่วนที่สมดุล

เมื่อคุณตัดสินใจที่จะไม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ หรือเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ร่วมกับการใช้นมสูตรสำหรับทารก อาจลดประสิทธิภาพในการสร้างน้ำนมของคุณเองและทำให้การกลับมาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อีกครั้งทำได้ยากขึ้น ดังนั้นก่อนเริ่มใช้นมสูตรสำหรับทารก คุณควรคำนึงถึงผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคมร่วมด้วย หากจำเป็นต้องใช้นมสูตรสำหรับทารก คุณควรปฏิบัติตามข้อแนะนำในการเตรียม การใช้ และการเก็บรักษา อย่างระมัดระวังเพื่อสุขภาพที่ดีของทารก

เพื่อช่วยในการตัดสินใจที่ดีที่สุดเกี่ยวกับวิธีให้อาหารทารก แนะนำปรึกษาแพทย์ หรือผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพทุกครั้ง

วัย 8-9 เดือน ลูกน้อยทานอะไรเพิ่มได้บ้าง

พอถึง 8 เดือน ลูกน้อยควรกินนมแม่ และอาหารเสริม 2 มื้อ ควบคู่กับการกินนมนะคะ โดยเรามีตัวอย่างการเตรียมอาหารมาแนะนำ ดังนี้ค่ะ

 

  • นม (นมแม่หรือนมดัดแปลงสำหรับทารก) วันละ 4-5 ครั้ง โดยเฉลี่ย รวมวันละ 25-30 ออนซ์
  • อาหารจำพวกแป้งที่เป็นมื้อเล็กๆ วันละ 2 มื้อ เช่น ข้าวสวยนิ่ม ขนมปังแผ่น หรือมันฝรั่ง
  • พืชผักผลไม้ที่คละสีสัน มีความหยาบ/ละเอียด และกลิ่นรสเพื่อให้มีความหลากหลาย เช่น ผักผลไม้หั่นนิ่มที่สามมารถถือทานเองได้ เช่น แตงกวา แครอทต้ม เป็นต้น
  • อาหารที่มีโปรตีนสูงแต่อ่อนนุ่มบดง่าย ได้แก่ ไข่แดง ตับไก่ เต้าหู้อ่อน หรือปลา หมุนเวียนสลับกันไป

 

เรามีตารางปริมาณอาหาร*มาแนะนำคุณพ่อคุณแม่ด้วยนะคะ ลองดูเป็นแนวทางการวางแผนอาหารใน 1 วันสำหรับลูกน้อยวัย 8-9 เดือนค่  

*ที่มา- กองโภชนาการ กระทรวงสาธารณะสุข. กินตามวัยให้พอดี

คุณพ่อคุณแม่ลองทำตามนี้ดูนะคะ โดยต้องสังเกตควบคู่กันด้วยว่า ลูกน้อยกำลังได้รับอาหารอย่างเพียงพอหรือไม่ โดยการวัดส่วนสูงและน้ำหนักเป็นประจำ และปรึกษาแพทย์หากไม่อยู่ในเกณฑ์นะคะ  

วัย 8-9 เดือน ลูกน้อยทานอะไรเพิ่มได้บ้าง

เมื่อทารกน้อยของคุณพ่อคุณแม่ก้าวเข้าสู่วัยที่ลูกเริ่มจะไม่หยุดนิ่ง และกระฉับกระเฉงมากขึ้น พร้อมกับร่างกายที่กำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว คุณพ่อคุณแม่มักจะมีความกังวลว่าลูกน้อยควรจะทานอาหารชนิดใหม่ๆ อะไรบ้าง เพื่อจะเสริมพัฒนาการและการเจริญเติบโตใช่ไหมละคะ

โดยปกติแล้วลูกน้อยในวัยนี้มักแสดงพัฒนาการ และมีการเจริญเติบโตทางด้านร่างกายที่เป็นก้าวสำคัญ ซึ่งสัมพันธ์กับอาหารการกินของเขาค่ะ มาดูพัฒนาการลูกน้อยวัย 8-9 เดือน กันนะคะ ว่าเป็นอย่างไร

  • ฟันน้ำนมขึ้นหนึ่งซี่หรือมากกว่านั้น ฟันจะช่วยให้ลูกเคี้ยว และเพลิดเพลินกับอาหารที่มีเนื้อสัมผัสหยาบแข็งมากขึ้น
  • มีพัฒนาทักษะการหยิบจับแบบคีบของ ซึ่งช่วยให้ลูกน้อยสามารถหยิบของต่างๆ ได้เอง เช่น หยิบอาหารกินเล่น ด้วยนิ้วโป้งและนิ้วชี้
  • ดื่มจากถ้วยหัดดื่มเป็น  

คุณพ่อคุณแม่จะสังเกตเห็นว่า ร่างกายมีการเติบโตที่สัมพันธ์กับความต้องการอาหารเพิ่มเติมใช่ไหมคะ ซึ่งเราก็มีคำแนะนำการเตรียมลักษณะอาหารให้เหมาะกับพัฒนาการมาฝาก ดังนี้ค่ะ

6 เดือน
6-7 เดือน
7-8 เดือน
8-9 เดือน

 

ผสมให้เข้ากัน/กรองผ่านตะแกรง

อาหารบดเหลวที่มีความหนืดมากขึ้น

 

บดละเอียด

มีเนื้อสัมผัสหยาบเล็กน้อย

 

บดละเอียด

มีเนื้อสัมผัสหยาบแข็งเป็นก้อนมากขึ้น

 

นึ่งจนนิ่ม/หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ

อาหารหยิบกินเล่น

6 เดือน6-7 เดือน7-8 เดือน8-9 เดือน
ผสมให้เข้ากัน/กรองผ่านตะแกรงบดละเอียดบดละเอียดนึ่งจนนิ่ม/หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ
อาหารบดเหลวที่มีความหนืดมากขึ้นมีเนื้อสัมผัสหยาบเล็กน้อยมีเนื้อสัมผัสหยาบแข็งเป็นก้อนมากขึ้นอาหารหยิบกินเล่น

พอถึง 8 เดือน ลูกน้อยควรกินนมแม่ และอาหารเสริม 2 มื้อ ควบคู่กับการกินนมนะคะ โดยเรามีตัวอย่างการเตรียมอาหารมาแนะนำ ดังนี้ค่ะ

  • นม (นมแม่หรือนมดัดแปลงสำหรับทารก) วันละ 4-5 ครั้ง โดยเฉลี่ย รวมวันละ 25-30 ออนซ์
  • อาหารจำพวกแป้งที่เป็นมื้อเล็กๆ วันละ 2 มื้อ เช่น ข้าวสวยนิ่ม ขนมปังแผ่น หรือมันฝรั่ง
  • พืชผักผลไม้ที่คละสีสัน มีความหยาบ/ละเอียด และกลิ่นรสเพื่อให้มีความหลากหลาย เช่น ผักผลไม้หั่นนิ่มที่สามมารถถือทานเองได้ เช่น แตงกวา แครอทต้ม เป็นต้น
  • อาหารที่มีโปรตีนสูงแต่อ่อนนุ่มบดง่าย ได้แก่ ไข่แดง ตับไก่ เต้าหู้อ่อน หรือปลา หมุนเวียนสลับกันไป

เรามีตารางปริมาณอาหาร*มาแนะนำคุณพ่อคุณแม่ด้วยนะคะ ลองดูเป็นแนวทางการวางแผนอาหารใน 1 วันสำหรับลูกน้อยวัย 8-9 เดือนค่  

*ที่มา- กองโภชนาการ กระทรวงสาธารณะสุข. กินตามวัยให้พอดี

คุณพ่อคุณแม่ลองทำตามนี้ดูนะคะ โดยต้องสังเกตควบคู่กันด้วยว่า ลูกน้อยกำลังได้รับอาหารอย่างเพียงพอหรือไม่ โดยการวัดส่วนสูงและน้ำหนักเป็นประจำ และปรึกษาแพทย์หากไม่อยู่ในเกณฑ์นะคะ  

ความหยาบ/ละเอียด
นมข้าวไข่เนื้อสัตว์ผักผลไม้ไขมัน
อาหารบด สับละเอียด หรือครูด และอาหารหยิบทานวันละ 4-5 ครั้งหรือ ประมาณ 25-30 ออนซ์ข้าวหุงนิ่ม 5 ช้อนกินข้าวไข่ทั้งฟองและเนื้อสัตว์ต่างๆ บด  2 ช้อนกินข้าว (เนื้อปลา เนื้อหมู เนื้อไก่)ผักหั่น 2 ช้อนกินข้าว (พืชผักกลิ่นรสแรงมากขึ้น (เช่น ต้นหอม บร็อคโคลี) ถั่วลันเตา มะเขือเทศ พืชผักที่มีลักษณะเป็นแท่ง เช่นแครอท)ผลไม้สุก 2-3 ชิ้น เช่น มะละกอสุก 3 ชิ้น หรือ กล้วยน้ำว้าสุก 1 ผล         ใช้น้ำมันพืช 1ช้อนชา ทำให้ความหยาบของอาหารมีเนื้อสัมผัสอ่อนนุ่ม ไม่แข็งกระด้างจนเกินไป เพื่อให้ทารกฝึกทักษะการเคี้ยวและกลืน
ความหยาบ/ละเอียด
นมข้าวไข่เนื้อสัตว์ผักผลไม้ไขมัน
อาหารบด สับละเอียด หรือครูด และอาหารหยิบทานวันละ 4-5 ครั้งหรือ ประมาณ 25-30 ออนซ์ข้าวหุงนิ่ม 5 ช้อนกินข้าวไข่ทั้งฟองและเนื้อสัตว์ต่างๆ บด  2 ช้อนกินข้าว (เนื้อปลา เนื้อหมู เนื้อไก่)ผักหั่น 2 ช้อนกินข้าว (พืชผักกลิ่นรสแรงมากขึ้น (เช่น ต้นหอม บร็อคโคลี) ถั่วลันเตา มะเขือเทศ พืชผักที่มีลักษณะเป็นแท่ง เช่นแครอท)ผลไม้สุก 2-3 ชิ้น เช่น มะละกอสุก 3 ชิ้น หรือ กล้วยน้ำว้าสุก 1 ผล         ใช้น้ำมันพืช 1ช้อนชา ทำให้ความหยาบของอาหารมีเนื้อสัมผัสอ่อนนุ่ม ไม่แข็งกระด้างจนเกินไป เพื่อให้ทารกฝึกทักษะการเคี้ยวและกลืน

*ที่มา- กองโภชนาการ กระทรวงสาธารณะสุข. กินตามวัยให้พอดี

คุณพ่อคุณแม่ลองทำตามนี้ดูนะคะ โดยต้องสังเกตควบคู่กันด้วยว่า ลูกน้อยกำลังได้รับอาหารอย่างเพียงพอหรือไม่ โดยการวัดส่วนสูงและน้ำหนักเป็นประจำ และปรึกษาแพทย์หากไม่อยู่ในเกณฑ์นะคะ  

carelinepic_resized2

ไฮ-แฟมิลี่ แคร์ไลน์

บริการให้คำปรึกษาในทุกๆเรื่องที่คุณแม่กังวลใจ โดยทีมผู้เชี่ยวชาญ พยาบาล นักโภชนาการและคุณแม่ ที่พร้อมอยู่เคียงข้าง ตลอด 24 ชั่วโมง

x